KM กรมวิทยาศาสตร์บริการ

การจัดการถ่ายทอดองค์ความรู้ Pro-active glass ครั้งที่ 1/2560

เรื่อง “กระบวนการสังเคราะห์สารด้วยวิธีโซลเจล”

                                                           โดย นว.ปก.วรพงษ์ เจนธนกิจ

วันจันทร์ที่ 20 กุมภาพันธ์ 2560

ณ ห้องประชุมกองวัสดุวิศวกรรม ชั้น ๓ อาคาร ดร. ตั้ว ลพานุกรม

 

วัตถุประสงค์

เพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้เกี่ยวกับการทำงานวิจัยโดยเทคนิคโซลเจลระหว่าง ศก. และ วซ. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการทำงานวิจัย

เนื้อหาโดยสรุป

กระบวนการสังเคราะห์สารด้วยวิธีโซลเจล มี 5 ขั้นตอน ดังนี้

          1. alkoxides or chlorides จะเกิดปฏิกิริยาhydrolysis and polycondensation  เพื่อฟอร์มตัวเป็นสารแขวนลอย

          2. โซล จะเกิดพันธะกลายเป็นร่างแหเกิดเป็นเจล โดยจะเกิดโครงสร้าง OXO (M-O-M) หรือhydroxo (M-OH-M)

          3. Aging เป็นการไล่สารละลาย และ เจลจะเกิดการหดตัว

        4. Dryingเป็นการไล่น้ำ

          5. Calcinationเป็นการไล่หมู่ M-OH ที่ผิวของเจล โดยใช้อุณหภูมิสูงสุด 800 ºC

 

 

รายชื่อผู้เข้าร่วมประชุม มีดังนี้

 

1)  นายกนิษฐ์ ตะปะสา

หศก.

9)  นางสาวปริดา จำปีเรือง

นว.

2)  นายเอกรัฐ มีชูวาศ

นว.ชพ

10)  นางสาววราลี บางหลวง

นว.

3)  นายสายัณห์ สุยพงษ์พันธ์

นว.ชก

11)  นางสาวหนูเล็ก จิตรสำราญ

นว.

4)  นางสาวกรองทิพย์ เติมเกาะ

นว.ชก.

12)  นางสาวสุวรรณี เทพบุตรดี

นว.

5)  นางสาววิรัตน์ ปฐมชัยอัมพร

นว.ชก

13)  นางสาวอภิรดี พรมสาเพชร

นว.

6)  นางสาวศันศนีย์ บุญสาลี      

นว.ชก.

14)  นางสาวชีวภัทรฺ ปาโมกข์

นว.

7)  นางสาวอุษณีย์ พันธุลาภ      

นว.ปก

15)  นางสาวจันจิรา บุญรอด

นว.

8)  นางสาวกรองกาญน์ ศิรินุกุลวัฒนา

นว.ปก.

16)  นางสาวเบญจมล เพ็ชรเจริญมงคล

นว.

 

                                         

                                  ภาพบรรยายการนำเสนอเรื่อง“กระบวนการสังเคราะห์สารด้วยวิธีโซลเจล”

                                                          โดย นว.ปก.วรพงษ์ เจนธนกิจ